บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2020

ความหมาย-รูปแบบการประเมิน

รูปภาพ
รูปแบบการประเมิน รูปแบบการประเมิน (Evaluation Model) เกิดขึ้นเนื่องจากความพยายามของนักประเมินที่ มุ่งนาเสนอแนวทางในการประเมินโครงการ รูปแบบการประเมิน คือ กรอบความคิดหรือแบบแผนในการประเมินที่แสดงให้เห็นถึง รายการที่ควรประเมินหรือกระบวนการของการประเมินซึ่งแต่ละรูปแบบจะบอกให้ทราบว่าในการ ประเมินโครงการใดโครงการหนึ่งนั้น เราควรพิจารณาในเรื่องอะไรบ้าง (What) ในขณะเดียวกันบาง รูปแบบอาจมีการเสนอแนะด้วยว่าในการประเมินแต่ละรายการ/แต่ละเร่ืองควรพิจารณาหรือ ตรวจสอบอย่างไร ซึ่งเป็นลักษณะของการเสนอแนะวิธีการ (How) รูปแบบการประเมินส่วนใหญ่เริ่มต้นหรือเกิดขึ้นในชั้นเรียน กล่าวคือเสนอรูปแบบการ ประเมิน เพื่อการประเมินผลการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนเป็นสาคัญ และต่อมามีการ ประยุกต์ใชก้รอบแนวความคิดเหล่านั้นเพื่อการประเมินงาน/โครงการในวงกว้างมากขึ้น ประโยชน์ของรูปแบบการประเมิน รูปแบบการประเมินมีประโยชน์สาคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. ช่วยให้เห็นแนวทางหรือกรอบความคิดในการประเมินการเรียนรู้เรื่องรูปแบบการ ประเมินที่หลากหลาย จะทาให้เกิดประสบการณ์ในการตัดสินใจเลือกใช้รูปแบบการประเมินได้ อย่าง...

รูปแบบการประเมินของ ไทเลอร์ (Tyler)

รูปภาพ
รูปแบบการประเมินของ ไทเลอร์ (Tyler) ไทเลอร์ (Tyler, 1943) เป็นผู้นาที่สาคัญในการประเมินโครงการ ได้ให้ความหมายของการประเมินว่า การประเมิน คือ การเปรียบเทียบพฤติกรรมที่เกิดขึ้นกับจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ โดยมีความเชื่อว่า จุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้อย่างชัดเจน รัดกุม และจาเพาเจาะจงแล้ว จะเป็น แนวทางช่วยในการประเมินได้เป็นอย่างดีในภายหลัง เขาได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการประเมินโดยเสนอเป็นกรอบความคิด ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1943 โดยเน้นการกาหนดวัตถุประสงค์ของโครงการให้อยู่ในรูปของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแล้วประเมินความสาเร็จของวัตถุประสงค์เหล่านั้น แนวคิด ลักษณะนี้เรียกว่า แบบจำลองที่ยึดความสาเร็จของจุดมุ่งหมายเป็นหลัก ไทเลอร์ มีความเห็นว่าจุดมุ่งหมายของการประเมินเพื่อตัดสินว่าจุดมุ่งหมายของการศึกษา ที่ตั้งไว้ในรูปของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมนั้นประสบผลสาเร็จหรือไม่มีส่วนใดบ้างที่ต้องปรับปรุง แก้ไข และถือว่าการประเมินโครงการเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ลำดับขั้นของการประเมิน การเรียนการสอนมีดังนี้ กาหนดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมด้วยข้อความที่ชัดเจน เฉพาะเจาะจง กำหนดเน้ือหาหรือประสบการณ์ทางการศึกษ...